USS Salt Lake City (CA-25)


ภาพในส่วนของปืน 8 นิ้ว ของเรือลาดตระเวนหนัก ยูเอสเอส ซอลต์เลกซิตี (ซีเอ-25) จากกองกำลังเฉพาะกิจที่ 16.6 ได้รับความเสียหายจากยุทธนาวีที่หมู่เกาะคอมมานเดอร์ ในช่วงปี ค.ศ. 1943
ที่มาเเละต้นฉบับ : https://goo.gl/k0j00x
@Hata//

German battleship Bismarck (1941)


เรือประจัญบานบิสมาร์ค เเห่งกองทัพเรือเยอรมัน ในขณะกำลังเปิดฉากยิงเข้าใส่เรือประจัญบาน เอชเอ็มเอส ปริ๊นซ์ออฟเวลส์ (53) ของราชนาวีอังกฤษ ในช่วงระหว่างยุทธนาวีที่ช่องแคบเดนมาร์ก เมื่อวันที่ 24 พฤษภาคม ค.ศ.1941
ภาพต้นฉบับที่ทางเพจนำมาลงสีจาก: https://upload.wikimedia.org/…/Bundesarchiv_Bild_146-1984-0…
///////// @Tao /////////

USS Amsterdam (CL-101)


เรือลาดตระเวนเบา ยูเอสเอส อัมสเตอร์ดัม (ซีเเอล-101) ในลายพรางแบบ Measure 31a บริเวณอู่ต่อเรือนอร์ฟอล์ก เมื่อวันที่ 29 มกราคม ปี ค.ศ. 1945
@Hata//

Japanese battleship Hiei 比叡 (戦艦)


เรือประจัญบาน ฮิเอย์ ขณะทำการเเล่นทดสอบอย่างเต็มกำลังภายหลังจากได้รับการปรับปรุงใหม่เป็นครั้งที่สอง ที่บริเวณอ่าวทสึคุเงะ เมื่อวันที่ 5 ธันวาคม ค.ศ.1939
ภาพต้นฉบับที่ทางเพจนำมาลงสีจาก: http://i.imgur.com/WoVwRcd.jpg
///////// @Tao /////////

USS Des Moines (CA-134)


เรือลาดตระเวนหนัก ยูเอสเอส ดีมอยน์ (ซีเอ-134) เเห่งกองทัพเรือสหรัฐอเมริกา ไม่ทราบช่วงเวลาเเละสถานที่ของภาพ
@Hata//

German battleship Gneisenau (1938)


เรือลาดตระเวนประจัญบานหรือเรือประจัญบานไกน์เซเนา เเห่งกองทัพเรือเยอรมัน ขณะทำการเเล่นทดสอบในฃ่วงระหว่างเดือนพฤษภาคม-สิงหาคม ของปีค.ศ.1938
ภาพต้นฉบับที่ทางเพจนำมาลงสีจาก: http://i.imgur.com/ACbPETz.jpg
///////// @Tao /////////

USS Guam (CB-2) Alaska-class large cruiser


Large cruisers - ( Classification "CB" )
ในช่วงก่อนสงครามโลกครั้งที่2 ได้เกิดการรื้อฟื้นค่านิยมของขนาดของเรือประจัญบานและเรือลาดตระเวน. บ้างอธิบายว่าเป็นเรือลาดตระเวนประจัญบาน แต่ไม่เคยถูกกำหนดประเภทเป็นเรือรบหลัก เเต่ได้อธิบายไว้ในแบบต่างๆ เช่น "เรือลาดตระเวนชั้นพิเศษ หรือ super cruisers","เรือลาดตระเวนขนาดใหญ่ หรือ large cruisers" หรือ "เรือลาดตระเวนไม่จำกัดประเภท หรือ unrestricted cruisers".
กองทัพเรือเนเธอร์แลนด์ ,กองทัพเรือสหรัฐอเมริกา เเละกองทัพเรือญี่ปุ่น ต่างก็ได้วางเเผนออกแบบเรือในชั้นนี้ในแบบของตนเอง โดยออกแบบมาเพื่อใช้ต่อกรกับเรือลาตระเวนหนักโดยเฉพาะ
เรือลาดตระเวนประจัญบานลำเเรกของกองทัพเรือเนเธอร์แลนด์ คือ เรือลาดตระเวนประจัญบานแบบ 1047 (Design 1047) ถูกออกแบบมาเพื่อป้องกันอาณานิคมชาวดัตช์ในหมู่เกาะอินเดียตะวันออก ในการเผชิญกับการรุกรานของญี่ปุ่นในช่วงนั้น ไม่มีการกำหนดชื่ออย่างเป็นทางการ เรือแบบนี้ได้รับการออกแบบจากความช่วยเหลือจากประเทศเยอรมันและอิตาลี โดยของแบบของมันมีลักษณะคล้ายกับเรือลาดตระเวนประจัญบานในชั้นชานฮอร์สท์ (Scharnhorst class) ของกองทัพเรือเยอรมัน เเละใช้ปืนหลักแบบเดียวกัน ตัวเรือได้รับการหุ้มเกราะเบา สามารถป้องกันการถูกยิงจากปืนขนาด 8 นิ้วได้ แม้ว่าการออกแบบส่วนใหญ่เสร็จสิ้นเป็นที่เรียบร้อย โดยตัวเรือลำแรกได้รับกำหนดการปล่อยลงน้ำในช่วงเดือนมิถุนายนของปีนั้น เเต่ก็ไม่ได้รับการสร้างเนื่อจากเนเธอร์แลนด์ถูกเยอรมันรุกรานในเดือนพฤษภาคม ปี ค.ศ.1940.
เรือชั้นก่อนหน้าของเรือลาดตระเวนประจัญบานมีเพียงชั้นเดียวเท่านั้นที่ถูกสร้างโดยกองทัพเรือสหรัฐอเมริกาคือ เรือลาดตระเวนขนาดใหญ่ชั้นอลาสก้า (Alaska-class) มีสองลำที่ถูกสร้างเสร็จสมบูรณ์คือ อลาสก้า เเละ กวม ส่วนลำที่สาม ฮาวาย ได้ถูกยกเลิกขณะทำการสร้างเเละอีกสามลำสุดท้ายที่ไม่ได้รับการสร้างคือ ฟิลิปปินส์ เปอร์โตริโก เเละ ซามัว ถูกยกเลิกก่อนที่จะถูกปล่อยลงน้ำ โดยเรือชั้นอลาสก้าได้ถูกจัดประเภทเป็นเรือลาดตระเวนขนาดใหญ่ เเทนประเภทเรือลาดตระเวนประจัญบาน เเละสถานะของเรือถูกจัดเป็นไม่ใช่เรือหลัก สังเกตุได้จากชื่อ โดยจะตั้งชื่อตามดินแดนในอารักขาของสหรัฐอเมริกา ตัวเรือติดตั้งปืนหลักขนาด 12 นิ้ว 9 กระบอกในป้อมแบบเเฝดสาม มีระวางขับน้ำ 27,000 ตัน โดยเรือชั่นอลาสก้ามีขนาดใหญ่เป็นสองเท่าจากเรือลาดตระเวนชั้นบัลติมอร์ เเละมีปืนหลักขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางใหญ่กว่า 50% ตัวเรือไม่มีเกราะคาดลำเรือ (Belt armor) เเละระบบป้องกันตอร์ปิโดเหมือนเรือหลักลำอื่นๆ พวกมันถูกมองว่าเป็นการออกแบบที่สมดุล อ้างอิงจากมาตราฐานเรือลาดตระเวนโดยการป้องกันของมันสามารถต้านทานการยิงจากปืนขนาดเดียวกันได้แม้เพียงในมุมและระยะแคบๆเท่านั้น พวกมันถูกออกแบบมาเพื่อตามล่าเรือลาดตระเวนหนักของกองทัพเรือญี่ปุ่น แม้ว่าเวลาที่พวกมันเข้ามาประจำการ เรือลาดตระเวนหนักส่วนใหญ่ของญี่ปุ่นนั้นถูกจมโดยเครื่องบินเเละเรือดำน้ำ เช่นเดียวกับเรือประจัญบานเร็วในชั่นไอโอว่า (Iowa-class) พวกมันมีความเร็วที่สูง ในท้ายที่สุดพวกมันถูกนำไปใช้ในการคุ้มกันกองเรือบรรทุกเครื่องบิน ยิงถล่มชายฝั่ง มากกว่าการรบกันระหว่างเรือรบด้วยกันอย่างในแบบที่ผู้ออกเเบบอยากให้เป็น.
กองทัพเรือญี่ปุ่นได้เริ่มออกบบเรือลาดตระเวนขนาดใหญ่ในชั้นบี64 (B64-class) โดยมีขนาดไกล้เคียงกับเรือลาดตระเวนขนาดใหญ่ชั้นอลาสก้า เเต่ของญี่ปุ่นนั้นติดตั้งปืนหลักขนาด 12.2 นิ้ว ข่าวการออกแบบเรือในชั้นอลาสก้าของสหรัฐอเมริกา นั้นทำให้ญี่ปุ่นปรับปรุงการออกแบบของตนขึ้นมาใหม่คือเรือลาดตระเวนขนาดใหญ่แบบบี-65 (Design B-65) โดยตัวเรือนั้นติดตั้งปืนหลักขนาด 14 นิ้ว 6 กระบอกในป้อมแบบเเฝดสอง เรือลาดตระเวนขนาดใหญ่แบบบี-65 จะได้รับการติดตั้งระบบอาวุธดีที่สุดแบบใหม่ของเรือลาดตระเวนประจัญบานเเละพวกมันมีการป้องกันที่เพียงพอที่จะป้องกันกระสุนปืนขนาด 8 นิ้วได้ เหมือนของเรือลาดตระเวนขนาดใหญ่ของเนเธอร์แลนด์ กองทัพเรือญี่ปุ่นได้เสร็จสิ้นการออกแบบเรือลาดตระเวนขนาดใหญ่ในชั้นบี65 เเต่ไม่มีการปล่อยลงน้ำเเต่อย่างใด เนื่องจากมีความล่าช้าเเละการยอมจำนนของญี่ปุ่นทำให้เรือลาดตระเวนขนาดใหญ่แบบบี-65 ถูกยกเลิกทั้งหมด.
ในรูปคือ เรือลาดตระเวนขนาดใหญ่ชั้นอลาสก้า ยูเอสเอส กวม (ซีบี-2)
@Hata//


Soviet cruiser Zhdanov


เรือลาดตระเวนเบาชดานอฟ เเห่งกองทัพเรือสหภาพโซเวียต ขณะทำการเเล่นทดสอบ ในช่วงปี 1983 ไม่ทราบสถานที่ของภาพ
ต้นฉบับ : https://goo.gl/TQdhkC
@Hata//

Gloster Meteor F.3s


เครื่องบินขับไล่เครื่องยนต์เจ็ทแบบ โกลสเตอร์ มีทีเออร์ เอฟ.3เอส ของกองทัพอากาศอังกฤษ ขณะทำการบินลาดตระเวนเหนือช่องแคบอังกฤษ ไม่ทราบช่วงเวลาของภาพ
ต้นฉบับ : https://goo.gl/d5MzWx
@Hata//

French battleship Jean Bart


เรือประจัญบาน ฌอง บาร์ต เเห่งกองทัพเรือฝรั่งเศส ที่คาดว่าน่าจะอยู่ในช่วงราวๆทศวรรษที่ 1950
ภาพต้นฉบับที่ทางเพจนำมาลงสีจาก: http://i.imgur.com/HIplLtT.jpg
///////// @Tao /////////

Japanese cruiser Atago


เรือลาดตระเวนหนักอะตาโกะ ขณะทการเเล่นทดสอบที่อ่าวสุคุโมะ เมื่อวันที่ 12 กุมภาพันธ์ ปี ค.ศ. 1932
ต้นฉบับ : http://imgur.com/wKEHKuf
@Hata//

Italian battleship Littorio (1942)


เรือประจัญบานลิตตอริโอ้ เเห่งกองทัพเรืออิตาลี่ในเเบบลายพราง ที่คาดว่าน่าจะอยู่ในช่วงของปีค.ศ.1942
ภาพต้นฉบับที่ทางเพจนำมาลงสีจาก: http://i.imgur.com/aAUsRia.jpg
///////// @Tao /////////

P-51D-5 NA Mustang


เครื่องบินขับไล่แบบ นอร์ทอเมริกัน พี-51 ดี-25 มัสแตง ของร้อยโท อาเบ พี. โรเซนเบอเกอร์ จากฝูงบินขับไล่ที่ 375 ขณะบินอยู่เหนือน่านฟ้าทวีปยุโรปในช่วงวันที่ 7 กรกฎาคม - 9 สิงหาคม ปี ค.ศ. 1944
ต้นฉบับ : https://goo.gl/UiWEjz
@Hata//

Kawanishi N1K2-J Shiden-Kai


เครื่องบินขับไล่แบบ คาวะนิชิ เอ็น1เค2-เจ ชิเด็น ไค จากกองบินที่ 343 ของกองกำลังพิเศษทางอากาศ กองทัพเรือจักรวรรดิญี่ปุ่น ไม่ทราบช่วงเวลาเเละสถานที่ของภาพ
@Hata//